สะพาน ข้าม แม่ น้ํา โขง แห่ง ที่ 5: เดินหน้าสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 เชื่อมบึงกาฬ-บอลิคำไซ

October 13, 2021
ราน-ขาย-เครองมอ-ชาง-โคราช
  1. สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ) - วิกิพีเดีย
  2. เดินหน้าสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 เชื่อมบึงกาฬ-บอลิคำไซ
  3. สะพานข้ามน้ำโขงไทย-ลาวแห่งที่5 เริ่มสร้างแล้ว เชื่อม บอลิคำไซ-บึงกาฬ - ข่าวสด

เผยแพร่: 6 ม. ค. 2564 18:28 โดย: ผู้จัดการออนไลน์ การก่อสร้างสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำโขง จุดที่ 5 เชื่อมระหว่างแขวงบอลิคำไซใน สปป ลาว กับ จ. บึงกาฬ ของไทยนั้น เริ่มก่อสร้างแล้วในวันนี้ (6 ม. ) หลังมีการลงนามข้อตกลงการก่อสร้างไปเมื่อเดือนธันวาคม 2563 โดยการก่อสร้างจะใช้เวลา 36 เดือน มูลค่าการก่อสร้างประมาณ 130. 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ หากการก่อสร้างสะพานมิตรภาพแห่งนี้เสร็จสิ้นภายในปี 2566 จะช่วยให้แขวงบอลิคำไซ กลายเป็นศูนย์กลางการค้าของภูมิภาค และเส้นทางขนถ่ายที่สำคัญของ สปป ลาว ไทย และเวียดนาม ซึ่งจะทำให้เส้นทางเชื่อมโยงระหว่างทั้ง 3 ประเทศสั้นขึ้น รวมทั้งดึงดูดการค้าและการลงทุนมากขึ้น

สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ) - วิกิพีเดีย

  1. สะพาน ข้าม แม่ น้ํา โขง แห่ง ที่ 5.1
  2. สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ) - วิกิพีเดีย
  3. สะพาน ข้าม แม่ น้ํา โขง แห่ง ที่ 5.5
สะพาน ข้าม แม่ น้ํา โขง แห่ง ที่ 5 ans

เดินหน้าสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 เชื่อมบึงกาฬ-บอลิคำไซ

สะพาน ข้าม แม่ น้ํา โขง แห่ง ที่ 5.5

ที่ 125+925 ที่บ้านดอนยม อยู่ห่างจากริมฝั่งแม่น้ำโขง ประมาณ 200 เมตร จุดที่ข้ามแม่น้ำโขงจะผ่าน ต. วิศิษฐ์ และ ต. ไคสี อำเภอเมืองบึงกาฬ จะมีเวนคืนที่ดิน 620 ไร่ บริเวณฝั่งไทย เพื่อตัดถนนใหม่ จะผ่านจุดสลับทิศทางจราจร ข้ามด่านพรมแดนฝั่งลาว ทางฝั่งตะวันตกของหนองง้า และสิ้นสุดที่ทางหลวงสาย 13 กม. ที่ 136+677 [ ต้องการอ้างอิง] มีการเจรจาระหว่างรัฐบาลไทยและลาวเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ. 2557 ว่าจะให้เงินกู้กับทาง รัฐบาลลาว เพื่อใช้ในการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 แต่รัฐบาล จูมมะลี ไซยะสอน ได้ขอปฏิเสธเพราะว่าต้องการกู้เงินจาก ประเทศจีน [ ต้องการอ้างอิง] สุดท้ายเมื่อ บุนยัง วอละจิด ประธานประเทศคนต่อมา ได้นำข้อเสนอนี้กลับมาพิจารณาอีกครั้ง โดยได้ข้อสรุปว่าจะขอกู้เงินจาก สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) แทน [1] ส่วนการก่อสร้างจะเริ่มขึ้นในปี 2562 [2] ซึ่งจะเริ่มก่อสร้างในปี พ. 2562 [3] ขณะนี้รัฐบาลสองประเทศและ สพพ. (NEDA) กำลังจัดตั้งขั้นตอนการประกวดราคา และจะมีการตั้งคณะกรรมการร่วมไทย-ลาว พร้อมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพิจารณาร่วมกันอีกครั้ง ตามแผนจะใช้เวลาก่อสร้าง 3 ปี [4] ดูเพิ่ม [ แก้] สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 (หนองคาย–เวียงจันทน์) สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 (มุกดาหาร–สะหวันนะเขต) สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 3 (นครพนม–คำม่วน) สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 4 (เชียงของ–ห้วยทราย) สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 6 (นาตาล–ละคอนเพ็ง) สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 7 (เลย–แขวงเวียงจันทน์) สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 8 (อุบลราชธานี–จำปาศักดิ์) อ้างอิง [ แก้] ↑ "นายกฯพอใจเยือนลาวเดินหน้ารถไฟทางคู่-เปิดเขตศก.

สะพานข้ามน้ำโขงไทย-ลาวแห่งที่5 เริ่มสร้างแล้ว เชื่อม บอลิคำไซ-บึงกาฬ เกาะติดข่าว กดติดตาม ข่าวสด 6 ม. ค.

สะพาน ข้าม แม่ น้ํา โขง แห่ง ที่ 5.2

สะพานข้ามน้ำโขงไทย-ลาวแห่งที่5 เริ่มสร้างแล้ว เชื่อม บอลิคำไซ-บึงกาฬ - ข่าวสด

09 ก. ย. 2563 เวลา 4:06 น. เดินหน้าก่อสร้างสะพานข้ามน้ำโขง 5 เชื่อมบึงกาฬ-ปากซัน กำหนดตอกเสาเข็มต้นแรกต. ค. นี้ หลังเลื่่อนจากมิ. เพราะพิษโควิด-19 หนุนเศรษฐกิจฐานยางพาราเมืองบึงกาฬสู่ตลาดใหญ่ในจีน นับถอยหลัง ตอกเสาเข็มต้นแรก " สะพานข้ามโขง5 " ค่าเฉียด 4 พันล้านบาท เชื่อม บึงกาฬ-ปากซัน ต. นี้ หลังจากเลื่อนจากมิ. เพราะพิษโควิด-19 เมื่อสร้างเสร็จจะช่วยหนุนเศรษฐกิจยางพาราบึงกาฬสู่ตลาดใหญ่ในจีนได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น บึงกาฬ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับแขวงบอลิคำไซ ของสปป. ลาว แยกจากหนองคายออกมาจัดตั้งเป็นจังหวัดใหม่เมื่อ 23 มีนาคม พ. ศ. 2554 ประกอบด้วย 8 อำเภอ เนื้อที่ 4, 305.

เดินหน้าสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 เชื่อมบึงกาฬ-บอลิคำไซ 16 กุมภาพันธ์ 2564 สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งใหม่ ที่รัฐบาลไทยและลาวร่วมกันผลักดันเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ เริ่มลงเสาเข็มเสริมความเหนียวแน่นระหว่างประเทศแล้ว เชื่อมบึงกาฬ-บอลิคำไซ หลังจากลงนามข้อตกลงการก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม 2020 โดยแบ่งสร้าง 3 ตอน อีกทั้งเตรียมสร้างแห่งที่ 6 เชื่อมอุบลราชธานี-สาละวัน สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย-ลาวแห่งที่ 5 นี้ มีระยะทางรวม 16. 18 กิโลเมตร แยกเป็นงานก่อสร้างฝั่งไทย 12 กิโลเมตร และฝั่งลาว 2. 8 กิโลเมตร จะใช้เวลาก่อสร้าง 36 เดือน งบกว่า 4 พันล้าน โดยทางการลาวร่วมรับผิดชอบ 1. 3 พันล้านบาท ผ่านการกู้เงินจากสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (NEDA) ของไทย รออีก 3 ปีได้ใช้กัน รายละเอียดของโครงการ งานก่อสร้างอยู่บนพื้นที่ต. วิศิษฐ์ ต. ไคสี และ ต. บึงกาฬ อ. เมืองบึงกาฬ ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับเมืองปากซัน แขวงบอลิคำไซ ของประเทศลาว ประกอบด้วย สะพานข้ามแม่น้ำโขงเชื่อมไทย-ลาว ยาว 1.

สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 5th Thai–Lao Friendship Bridge ຂົວມິດຕະພາບ ລາວ–ໄທ V แบบสะพานมิตรภาพไทย–ลาว แห่งที่ 5 ทางด้านฝั่ง จังหวัดบึงกาฬ เส้นทาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 ข้าม แม่น้ำโขง ที่ตั้ง หมู่ที่ 7 และ 8 ต. บึงกาฬ ต. วิศิษฐ์ และต. ไคสี อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ, เมืองปากซัน แขวงบอลิคำไซ ประเทศลาว ชื่อทางการ สะพานมิตรภาพ 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ) เหนือน้ำ สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 (หนองคาย–เวียงจันทน์) ท้ายน้ำ สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 3 (นครพนม–คำม่วน) ข้อมูลจำเพาะ วัสดุ คอนกรีตอัดแรง ความยาว 1. 35 กม. ขนาด 2 ช่องจราจร ประวัติศาสตร์ วันเริ่มสร้าง มกราคม พ. ศ. 2564 วันสร้างเสร็จ มกราคม พ. 2566 สะพานมิตรภาพ 5 (บึงกาฬ-บอลิคำไซ) ( อังกฤษ: 5th Thai-Lao Friendship Bridge; ลาว: ຂົວມິດຕະພາບ ລາວ-ໄທ 5) เป็นโครงการสะพานข้าม แม่น้ำโขง เพื่อเชื่อมมิตรภาพระหว่าง ไทย กับ ลาว เริ่มต้นเมื่อ พ. 2554 โครงการนี้จะข้าม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 บริเวณกิโลเมตรที่ 125+925 หมู่ 2 บ้านดอนยม ตำบลไคสี อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ ข้ามแม่น้ำโขง และเชื่อมต่อทางหลวงหมายเลข 13 ที่บ้านกล้วย เมือง ปากซัน แขวงบอลิคำไซ ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาทางหลวงของลาวที่จะก่อสร้างถนนเลี่ยงเมืองปากซันด้านตะวันออก เนื้อหา 1 การก่อสร้าง 2 ดูเพิ่ม 3 อ้างอิง 4 แหล่งข้อมูลอื่น การก่อสร้าง [ แก้] แผนผังแสดงเส้นทางสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 5 สำหรับเงินลงทุนโครงการอยู่ที่ 3, 640 ล้านบาท หรือประมาณ 9.

75 แสนล้านกีบ แยกเป็น ค่าก่อสร้างถนน 890 ล้านบาท (ฝั่งไทย 750 ล้านบาท และฝั่งลาว 140 ล้านบาท) งานสะพาน 1, 510 ล้านบาท (ฝั่งไทย 860 ล้านบาท และฝั่งลาว 650 ล้านบาท) อาคารสำนักงานด่าน 1, 000 ล้านบาท (ฝั่งละ 500 ล้านบาท) และค่าเวนคืน 240 ล้านบาท ซึ่งการก่อสร้างฝั่งไทยจะใช้เงินงบประมาณ ส่วนฝั่งลาวจะใช้เงินกู้ [ ต้องการอ้างอิง] แนวเส้นทางจะสร้างอยู่บนพื้นที่ตำบลวิศิษฐ์ ตำบลไคสี และตำบลบึงกาฬ อำเภอเมืองบึงกาฬ อยู่ตรงข้ามกับ เมืองปากซัน แขวงบอลิคำไซ ประเทศลาว โดยรูปแบบการก่อสร้างจะมีสะพานข้ามแม่น้ำโขง 1 แห่ง ความยาว 1. ขนาด 2 ช่องจราจร เชื่อมโยงระหว่างฝั่งไทยกับลาว พร้อมถนนตัดใหม่เป็นลักษณะถนนเลี่ยงเมือง ขนาด 4 ช่องจราจร ในฝั่งไทย เพื่อเชื่อมต่อกับทางหลวงสาย 222 (บึงกาฬ-พังโคน) จาก จ. หนองคาย ไปยัง จ. นครพนม และ จ. สกลนคร ส่วนฝั่งลาวจะเป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร ระยะทาง 2. 86 กม. [ ต้องการอ้างอิง] ทั้งโครงการมีระยะทางรวม 16. 18 กม. แยกเป็น งานก่อสร้างฝั่งไทย 12. 13 กม. และฝั่งลาว 3. โดยแนวเส้นทางมีจุดเริ่มต้นที่ฝั่งไทย อยู่ที่จุดตัดทางหลวงสาย 222 กม. ที่ 123+430 ใกล้กับที่ดินกรมทางหลวง จากนั้นแนวเส้นทางจะมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก ผ่านพื้นที่เกษตรกรรม เลี้ยวขวาไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับทางหลวงชนบทสาย 3217 ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของบ้านหนองนาแซง แล้วมุ่งหน้าไปยังทิศทางเดิม ตัดทางหลวงชนบทสาย 3013 ที่บ้านห้วยดอกไม้ ใกล้โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยดอกไม้ แล้วมุ่งหน้าไปยังทิศทางเดิม ผ่านพื้นที่เกษตรกรรม และเลี้ยวขวาไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านด่านพรมแดนฝั่งไทย บริเวณทิศตะวันออกของหนองกุดจับ ก่อนยกระดับข้ามทางหลวงสาย 212 กม.

สะพานมิตรภาพแห่งใหม่ - รัฐบาลไทยและลาว ร่วมกันผลักดันก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงเชื่อมความสัมพันธ์กันมา 4 แห่งแล้ว ล่าสุดกรมทางหลวงเริ่มสร้างแห่งที่ 5 บึงกาฬ-บอลิคำไซ กรมทางหลวงเปิดหน้าดินอีสาน บูมการค้า ท่องเที่ยวริมแม่น้ำโขง ผุดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว 2 แห่ง มูลค่ากว่า 8 พันล้าน ลงเสาเข็มแล้วแห่งที่ 5 "บึงกาฬ-บอลิคำไซ" แบ่งสร้าง 3 ตอน เสร็จปลายปีཽ เตรียมหารือรัฐบาลลาว สร้างแห่งที่ 6 ปักหมุด "อุบลราชธานี-สาละวัน" ลงทุน 4. 3 พันล้าน นายสราวุธ ทรงศิวิไล อธิบดีกรมทางหลวง (ทล. ) เปิดเผยว่า ปัจจุบันกรมอยู่ระหว่างเร่งรัดโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงหรือสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 (บึงกาฬ-บอลิคำไซ) และแห่งที่ 6 (อุบลราชธานี-สาละวัน) ที่จะสร้างในอนาคต วงเงินรวม 8, 295 ล้านบาท เพื่อเชื่อมเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และท่องเที่ยว 4 ประเทศ คือ ไทย ลาว จีน เวียดนาม โดยได้เริ่มก่อสร้างโครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 5 แล้วในส่วนของเนื้องานที่ใช้งบประมาณของรัฐบาลไทยแบ่งสร้าง 3 สัญญา รวม 2, 553 ล้านบาท ประกอบด้วย 1. งานถนนฝั่งไทย ก่อสร้างทางเลี่ยงเมืองบึงกาฬ ระยะทาง 9. 4 กม. เป็นทางแนวใหม่ขนาด 4 ช่องจราจร วงเงิน 880 ล้านบาท มี บจ.

3 พันล้านบาท โดยแบ่งเป็นการลงทุนฝั่งไทย 1. 5 พันล้าน และ ฝั่งลาว 1. 8 พันล้าน และในส่วนของสะพานข้ามน้ำโขง 1 พันล้านบาท ระยะทางรวม 1. 6 กิโลเมตร สถานะ: ออกแบบเสร็จแล้ว รอเพียงข้อตกลงร่วมระหว่างไทย-ลาว แหล่งข้อมูล