การ เตรียม บ่อ เลี้ยง ปลา

October 14, 2021
บล-คา-นา-หาย-การ-ประปา-สวนภมภาค

/ไร่ สาดให้ทั่วบ่อ ทิ้งไว้ 2 -3 วัน เพื่อให้กากชาสลายตัวหมดก่อนที่จะปล่อยลูกปลา บ่อปลาดุกเก่า ทำความสะอาดบ่อโดยการลอกเลนออกให้มากที่สุด และปรับแต่งคันบ่อให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ ใส่ปูนขาวให้ทั่วบ่อ เพื่อเป็นการฆ่าเชื้อโรค และปรับสภาพความเป็นกรด – ด่างของดินในอัตราส่วน 50 – 120 ก. /ไร่ ตากบ่อให้แห้งประมาณ 10 -15 วัน นำปุ๋ยคอกใส่ถุงแขวนไว้ตามมุมบ่อประมาณ 60 -100 ก. /ไร่ เพื่อเป็นการเตรียมอาหารธรรมชาติให้ลูกปลา เติมน้ำ 30 -40 ซ. ทิ้งไว้ 3 -5 วัน จนน้ำเป็นสีเขียว แล้วจึงปล่อยปลา ก่อนปล่อยลูกปลา ควรตรวจดูค่า pH ถ้า pH ไม่ถึง 7. 5 ควรนำปูนขาวละลายน้ำสาดให้ทั่วบ่อเพื่อปรับ pH ให้อยู่ในช่วง 7. 5 ตรวจดูในบ่ออีกครั้งว่ามีแมลงเช่น มวนวน มวนกรรเชียงหรือตัวอ่อนแมลงปอ ควรกำจัดโดยใช้ดิพเทอร์เร็กซ์ 0. 25กรัม / น้ำ 1 ลบ. ม หรือ กากชา 10 -15 กก. /ไร่ สาดให้ทั่วบ่อทิ้งไว้ 2-3 วัน กรณีที่บ่อน้ำขังไม่สามารถตากบ่อให้แห้งได้ ให้ฆ่าปลาที่เป็นศัตรูลูกปลาด้วยไซยาไนต์ 1. 5 – 2 กรัม/น้ำ 1 ลบ. ม หรือกากชา 10 -15 กก. /ไร่ ที่ระดับน้ำ 50 ซ. แล้วทิ้งไว้ 2-3 วันเพื่อให้ไซยาไนต์ และกากชาสบายตัว ควรกั้นอวนมุ้งเขียวรอบๆบ่อ เพื่อป้องกันศัตรูปลาอื่นๆ การกำจัดศัตรูปลา แมลง, มวนวน, มวนกรรเชียง ตัวอ่อนแมลงปอ ใช้ดิพเทอร์เร็กซ์ 0.

การเตรียมบ่อเลี้ยงปลา คู่มือการเลี้ยงปลา - Agriculture.in.th

5 พร้อมกันนั้นน้ำในบ่อก็จะเริ่มเป็นสีเขียวอ่อนๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีอาหารธรรมชาติเกิดขึ้นภายในบ่อเลี้ยงแล้ว ทำการระบายน้ำเข้าบ่อให้ได้ระดับ 60 เซนติเมตร บ่อเลี้ยงก็พร้อมที่จะปล่อยลูกปลาดุกลงเลี้ยงได้ อย่างไรก็ตามในระหว่างการเติมน้ำเข้าบ่อควรจะกรองด้วยตะแกรงหรืออวนสีฟ้า เพื่อป้องกันศัตรูปลาอื่นๆ เข้าไปในบ่อเลี้ยง

บ่อใหม่ หากเป็นบ่อที่ขุดใหม่ ดินมักมีคุณภาพเป็นกรด ควรใช้ปูนขาวโรยให้ทั่วบ่อ ในอัตรา 1 กิโลกรัม ต่อเนื้อที่ 10 ตารางเมตร ข.

การ เตรียม บ่อ ซีเมนต์ เลี้ยง ปลา

แหล่งที่มาของข้อมูล: ไชยันต์ การสมเนตร. ประมงจังหวัดตราด. สัมภาษณ์, 8 มิถุนายน 2555. เรียบเรียงโดย: โสภาวรรณ เบ็ญระเหม เจ้าหน้าที่สถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกันจังหวัด จ. จันทบุรี

การ เตรียม บ่อ เลี้ยง ปลา คาราโอเกะ

การเตรียมบ่อใหม่ - กระชัง ปลา-กบ

การเตรียมบ่อเลี้ยงปลา เช่น การเลี้ยง ปลาดุก ในบ่อดิน จำเป็นต้องมีการเตรียมบ่อที่ดี มิฉะนั้นอาจเกิดปัญหาก้นบ่อเน่า ส่งผลให้คุณภาพน้ำในบ่อเลวลง และทำให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพปลาในที่สุด บ่อปลาดุกที่เลี้ยงมานานหลายๆปี โดยไม่มีการดูแลบ่อที่ดี จะพบปัญหารปลาเป็นโรคบ่อยๆ ยากต่อการแก้ไข การเตรียมบ่อใหม่ และบ่อเก่าที่เคยเลี้ยงปลามาก่อน มีขั้นตอนการเตรียมแตกต่างกันเล็กน้อยดังนี้ บ่อปลาดุกใหม่ บ่อใหม่มักมีปัญหาเรื่องดินเป็นกรด ให้โรคปูนขาว 30 -50 /บ่อ 800 ตร. ม. หรือ 60 -100 ก. ก. /ไร่ ควรจะคลุกปูนให้ผสมกับหน้าดินลึกประมาณ 5 ซ. ให้ทั่วพื้นบ่อและขอบบ่อ ใส่ปุ๋ยคอก ประมาณ 200 ก. /ไร่ โรยให้ทั่วบ่อ สูบน้ำเข้าบ่อจนได้ระดับน้ำ 30 -40 ซ. ทิ้งไว้ 3 -5 วัน จนน้ำเป็นสีเขียว ถ้าภายใน 3 -5 วัน น้ำไม่เป็นสีเขียวให้เติมปุ๋ยสูตร 1 5- 15 -15 ในอัตรา 5 -10 ก. /ไร่ โดยละลายน้ำสาดให้ทั่วบ่อ ก่อนปล่อยปลาควรทำการตรวจวัด pH ของน้ำในบ่อซึ่งค่า pH ที่พอเหมาะควรอยู่ระหว่าง 7. 0 -8. 5 ถ้า pH ต่ำกว่า 7 ควรนำปูนขาวละลายน้ำสาดให้ทั่วบ่อ เพื่อปรับ pH ให้อยู่ช่วง 7. 0 – 8. 5 ระวังอย่าให้เกิดแมลง หรือศัตรูปลา หากเกิดมีขึ้นให้ใช้กากชา 10 -15 ก.

  1. กันชน หน้า บ ริ โอ้
  2. เทคนิคการเตรียมบ่อดินเลี้ยงปลานิล แบบไร้กลิ่นโคลน - Farm Channel Thailand
  3. การเตรียมบ่อและการปล่อยปลาลงเลี้ยง - การเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการค้า
  4. Iphone 7 plus โปร true reviews

เทคนิคการเตรียมบ่อดินเลี้ยงปลานิล แบบไร้กลิ่นโคลน - Farm Channel Thailand

จำนวนปลาที่ปล่อย เนื่องจากปลานิลเป็นปลาที่ขยายพันธุ์ได้เร็ว ดังนั้นจำนวนปลาที่จะปล่อยลงเลี้ยงในบ่อครั้งแรกจึงไม่จำเป็นต้องปล่อยให้มากนัก สำหรับบ่อขนาดเนื้อที่ 1 งาน ( 400 ตารางเมตร) ควรใช้พ่อแม่ปลานิลเพียง 50 คู่ หรือถ้าเป็นลูกปลาซึ่งมีขนาดเล็กก็ควรปล่อยเพียง 400 ตัว หรือ 1 ตัวต่อ 1 ตารางเมตร ข. เวลาปล่อยปลา เวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับปล่อยปลา ควรเป็นเวลาเช้าหรือเวลาเย็น เพราะระยะเวลาดังกล่าวนี้อุณหภูมิของน้ำไม่ร้อนเกินไป ก่อนที่จะปล่อยปลา ควรเอาน้ำในบ่อใส่ปนลงไปในภาชนะที่บรรจุปลา แล้วปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 2-3 นาที เพื่อให้ปลาคุ้นกับน้ำใหม่เสียก่อน จากนั้นจึงค่อยๆ จุ่มปากภาชนะที่บรรจุปลานิลลงบนผิวน้ำพร้อมตะแคงภาชนะปล่อยให้ปลาแหวกว่ายออกไปอย่างช้าๆ

ปัจจุบันนี้การเลี้ยงปลามีหลากหลายวิธี ทั้งการเลี้ยงตามธรรมชาติซึ่งมีการดูแลรักษาที่ง่ายแต่ให้ผลผลิตที่น้อย หรือจะเป็นการเลี้ยงในบ่อดิน มีการดูแลรักษายากแต่ให้ผลผลิตที่มาก เพราะน้ำในบ่อจะมีเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดโรคระบาดและมีกลิ่นโคลน เวลาซื้อหรือรับประทานอาจจะไม่ชอบสักเท่าไหร่ การเลี้ยงปลานิลในบ่อดินนั้นมักสร้างปัญหาให้กับผู้เลี้ยงเป็นอย่างมาก คุณพรชัย บัวประดิษฐ์ ประธานชมรมผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำบางหัก 24 หมู่ 2 ต. บางหัก อ. พานทอง จ. ชลบุรี ได้แนะเทคนิคการเตรียมบ่อเลี้ยงปลานิลไร้กลิ่นโคลน คือ ให้เกษตรกรตากบ่อ 10-15 วันก่อน จึงทำการปล่อยน้ำเข้าบ่อ แล้วเติมน้ำอามิ (น้ำเหลือจากการทำผงชูรส) เพื่อเป็นการสร้างไรแดงให้เป็นอาหารตามธรรมชาติของปลานิล ในปริมาณ 50 ลิตรต่อไร่ จากนั้นควรเปิดเครื่องตีน้ำและให้อากาศด้วย ไม่อย่างนั้นน้ำในบ่ออาจเสียได้ เพียงเท่านี้ปลานิลที่เลี้ยงในบ่อดินก็จะไม่มีกลิ่นโคลนแถมยังสามารถเจริญเติบโตได้ดีเพราะได้อาหารจากธรรมชาตินอกเหนือจากอาหารหลัก และยังจำหน่ายได้ราคาที่สูงขึ้นอีกด้วย แหล่งข้อมูลอ้างอิง